อทฺธคู | | | | | |
ว.,ปุ. (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้ไปสู่ทางไกลยืดยาวโดยปกติ อทฺธา บทหน้า + คม ธาตุในความไป + รู ปัจจัย รัสสะ อา บทหน้าเป็น อ ลบ ม ที่สุดธาตุ ลบ ร เหลือไว้แต่ อู ได้รูปเป็น อทฺธคูแปลว่า ผู้ไปสู่ทางไกลยืดยาวโดยปกติ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ วิ.ว่า อทฺธานํ คจฺฉติ สีเลนาติ อทฺธคู (ปุคฺคโล) | | | | | |
อากงฺขํ | | | | | |
ก. หวังอยู่, เมื่อหวัง ศัพท์เดิมเป็น อากงฺขนฺต อ การันต์ ในปุงลิงค์ ลง สิ ปฐมาวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ แปลง นฺต กับ สิ เป็น อํ สำเร็จรูปเป็น อากงฺขํ, ภิกฺขุ อ. ภิกษุ อากงฺขํ เมื่อหวัง แจกเหมือน ภวนฺต | | | | | |
อากงฺขนฺต | | | | | |
ก. หวังอยู่, เมื่อหวัง อา บทหน้า + กงฺข ธาตุ ในความหวัง + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น อากงฺขนฺต ดู อกฺกมนฺต | | | | | |
อากงฺขมาน ก. หวังอยู่, เมื่อหวัง อา บทหน้า + กงฺข ธาตุ ในความหวัง + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย ได้รูปเป็น อากงฺขมาน ดู อนิจฺฉมาน | | | | | |
อากฑฺฒนภาว น.,ปุ. ความเป็นคืออันคร่ามา แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. อากฑฺฒนภาวํ | | | | | |
ซึ่งความเป็นคืออันคร่ามา เป็นอวธารณบุพพบท | | | | | |
กัมมธารยสมาส วิ.ว่า อากฑฺฒนํ เอว ภาโว = | | | | | |
อากฑฺฒนภาโว คำว่า อากฑฺฒน ในคำว่า อากฑฺฒนภาวํ มาจาก อา บทหน้า + กฑฺฒ ธาตุ ในความคร่า + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อน ได้รูป | | | | | |
เป็น อากฑฺฒน แปลว่า อัน (การ) คร่า เป็น | | | | | |
ภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า อากฑฺฒนํ = อากฑฺฒนํ | | | | | |
การคร่ามา ชื่อว่า อากฑฺฒนํๆ การคร่ามา | | | | | |
อากฑฺฒนฺต ก. คร่ามาอยู่ อา บทหน้า + กฑฺฒ ธาตุ ในความคร่า, ความฉุด + อ ปัจจัย | | | | | |
ในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น อากฑฺฒนฺต ดู อกฺกมนฺต | | | | | |
อากฑฺฒิ ก. (เช่น กุกฺกุฏมิตฺโต อ. นายกุกกุฏมิตร) | | | | | |
คร่ามาแล้ว อา บทหน้า + กฑฺฒ ธาตุ ใน | | | | | |
ความคร่า, ความฉุด + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อี | | | | | |
อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น | | | | | |
อากฑฺฒิ | | | | | |
อากฑฺฒิตุํ น. อ. อัน...คร่ามา, เพื่ออันคร่ามา | | | | | |
อา บทหน้า + กฑฺฒ ธาตุ ในความคร่า, ความฉุด + ตุํ ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น อากฑฺฒิตุํ | | | | | |
ดู อกฺโกสิตุํ | | | | | |
อากฑฺฒิตฺวา ก. คร่ามาแล้ว, ชักมาแล้ว อา | | | | | |
บทหน้า + กฑฺฒ ธาตุ ในความคร่า, ความฉุด + ตฺวา | | | | | |
ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น อากฑฺฒิตฺวา | | | | | |
อาการ น.,ปุ. อาการ แจกเหมือน ปุริส เช่น | | | | | |
ป.เอก. อากาโร อ. อาการ | | | | | |
อากาส น.,ปุ. อากาศ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. อากาสํ สู่อากาศ เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น อากาสโต บ้าง | | | | | |
อากาสคงฺคา น.,อิต. นํ้าในอากาศ แจกเหมือน กญฺา เช่น ทุ.เอก. อากาสคงฺคํ ยังนํ้าในอากาศ เป็นสัตตมีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า อากาเส คงฺคา = อากาสคงฺคา [คงฺคา = นํ้า, คงฺคา = คงคา | | | | | |
(ชื่อแม่นํ้า) อิต.] | | | | | |
อากาสงฺคณ น.,ปุ. เนินในที่แจ้ง แจกเหมือน | | | | | |
ปุริส เช่น ส.เอก. อากาสงฺคเณ ที่เนินในที่แจ้ง | | | | | |
เป็นสัตตมีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า อากาเส องฺคโณ = | | | | | |
อากาสงฺคโณ [องฺคณ = เนิน ปุ.] | | | | | |
อากาสฏฺเทวตา น.,อิต. เทวดาผู้ดำรงอยู่ใน | | | | | |
อากาศ แจกเหมือน กญฺา เช่น ป.พหุ. | | | | | |
อากาสฏฺเทวตา อ. เทวดาผู้ดำรงอยู่ในอากาศ ท. | | | | | |
เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า | | | | | |
อากาสฏฺา | | | | | |
เทวตา = อากาสฏฺเทวตา คำว่า | | | | | |
อากาสฏฺ ในคำว่า อากาสฏฺเทวตา มาจาก | | | | | |
อากาส บทหน้า + | | | | | |
า ธาตุ ในความยืนอยู่, ดำรงอยู่ | | | | | |
+ อ ปัจจัย ซ้อน ฏฺ หน้าธาตุ ลบ อา ที่ า ได้รูปเป็น | | | | | |
อากาสฏฺ แปลว่า ผู้ดำรงอยู่ในอากาส เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า อากาเส ติฏฺนฺตีติ อากาสฏฺา | | | | | |
(เทวตา) เทวดา ท. เหล่าใด ย่อมดำรงอยู่ ในอากาศ เหตุนั้น เทวดา ท. เหล่านั้น ชื่อว่า อากาสฏฺาๆ | | | | | |
ผู้ดำรงอยู่ในอากาศ | | | | | |
อากาสาทโย ว. (ธาตุโย) ซึ่งธาตุ ท. มีอากาศเป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า อากาโส อาทิ ยาสํ ตา อากาสาทโย | | | | | |
(ธาตุโย) อากาศ เป็นต้น ของธาตุ ท. เหล่าใด ธาตุ ท. เหล่านั้น ชื่อว่ามีอากาศเป็นต้น | | | | | |
อากาสาทีสุ ว.,ปุ. (ปเทเสสุ) ในประเทศ ท. มีอากาศ | | | | | |
เป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า อากาโส อาทิ เยสํ เต อากาสาทโย | | | | | |
(ปเทสา) อากาศ เป็นต้น ของประเทศ ท. เหล่าใด ประเทศ ท. เหล่านั้น ชื่อว่ามีอากาศเป็นต้น [คำว่า | | | | | |
ปเทส = ประเทศ หมายถึง ส่วนของแผ่นดิน, | | | | | |
ส่วนของโลก ปุ.] | | | | | |
อากิณฺณ ก. เกลื่อนกล่นแล้ว อา บทหน้า + กิร ธาตุ ในความเรี่ยราย, ความโปรย, ความเกลี่ย, ความเกลื่อนกล่น + ต ปัจจัย แปลง ต เป็น ณฺณ ลบ ร ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น อากิณฺณ ดู อคต | | | | | |
อากิณฺณมนุสฺสา ว.,อิต. (เวสาลี) อ. เมืองไพสาลี | | | | | |
มีมนุษย์เกลื่อนกล่นแล้ว เป็นสัตตมีตุลยาธิ-กรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า อากิณฺณา มนุสฺสา ยสฺสํ สา อากิณฺณมนุสฺสา (เวสาลี) | | | | | |
อากิณฺณวิหารี ว.,ปุ. ผู้มีอันอยู่เกลื่อนกล่นแล้วเป็นปกติ แจกเหมือน เสฏฺี เช่น ต.เอก. อากิณฺณวิหารินา (ปุคฺคเลน) อันบุคคล ผู้มีอันอยู่เกลื่อนกล่นแล้วเป็นปกติ มาจาก อากิณฺณ + วิ | | | | | |
บทหน้า + หร ธาตุ ในความนำไป มี วิ อุปสัค | | | | | |
อยู่หน้า แปลว่า อยู่ + ณี ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณี ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา, ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูปเป็น อากิณฺณวิหารี แปลว่า ผู้มีอันอยู่เกลื่อนกล่นแล้วโดยปกติ เป็นสมาสรูป | | | | | |
ตัสสีลสาธนะ วิ.ว่า อากิณฺณํ วิหริตุํ สีลมสฺสาติ อากิณฺณวิหารี (ปุคฺคโล) การอยู่ เกลื่อนกล่น เป็นปกติ ของบุคคลนั้น เหตุนั้น บุคคลนั้น ชื่อว่า | | | | | |
อากิณฺณวิหารีๆ ผู้มีอันอยู่เกลื่อนกล่นแล้วเป็นปกติ | | | | | |
อากิรติ ก. (เช่น ปุคฺคโล อ. บุคคล) ย่อมเกลี่ยลง | | | | | |
อา บทหน้า + กิร ธาตุ ในความเรี่ยราย, ความโปรย, | | | | | |
ความเกลี่ย, ความเกลื่อนกล่น + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น อากิรติ | | | | | |
อากิรเต ก. (เช่น ปุคฺคโล อ. บุคคล) ย่อมเกลี่ยลง | | | | | |
อา + กิร ธาตุ ในความเรี่ยราย, ความโปรย, | | | | | |
ความเกลี่ย, ความเกลื่อนกล่น + อ ปัจจัย | | | | | |
ในกัตตุวาจก + เต วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น | | | | | |
อากิรเต | | | | | |
อากิริ ก. (เช่น พฺราหฺมโณ อ. พราหมณ์) เกลี่ยลง | | | | | |
แล้ว อา + กิร ธาตุ ในความเรี่ยราย, ความโปรย, ความเกลี่ย, ความเกลื่อนกล่น + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น อากิริ | | | | | |
อากิริตฺวา ก. โปรยแล้ว, โปรยลงแล้ว, เรี่ยรายแล้ว, เกลี่ยลงแล้ว อา บทหน้า + กิร ธาตุ ในความเรี่ยราย, ความโปรย, ความเกลี่ย, ความ | | | | | |
เกลื่อนกล่น + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น | | | | | |
อากิริตฺวา | | | | | |
อากุล ว. วุ่นวาย, สับสน, อากูล, คั่งค้าง ปุ. แจก | | | | | |
เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อากุโล (กมฺมนฺโต) | | | | | |
อ. การงาน อันอากูล อิต. ลง อา เครื่องหมาย อิต. แจกเหมือน กญฺา เช่น ป.เอก. อากุลา (สุชาตา) | | | | | |
อ. นางสุชาดา ผู้วุ่นวาย นปุ. แจกเหมือน กุล | | | | | |
เช่น ป.เอก. อากุลํ (จิตฺตํ) อ. จิต อันสับสน | | | | | |
อาโกฏาเปสิ ก. (เช่น หตฺถาจริโย อ. นายหัตถาจารย์) ยัง...ให้ตีแล้ว อา บทหน้า + กุฏ ธาตุ ในความเคาะ, ความทุบ, ความตี + ณาเป ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณาเป ปัจจัย พฤทธิ อุ ต้นธาตุ เป็น โอ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น อาโกฏาเปสิ | | | | | |
อาโกเฏตฺวา ก. เคาะแล้ว อา บทหน้า + กุฏ ธาตุ ในความเคาะ, ความทุบ, ความตี + | | | | | |
เณ ปัจจัย | | | | | |
ในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย | | | | | |
พฤทธิ อุ ต้นธาตุ เป็น โอ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น อาโกเฏตฺวา | | | | | |
อาโกเฏสิ ก. (เช่น เถโร อ. พระเถระ) เคาะแล้ว อา บทหน้า + กุฏ ธาตุ ในความเคาะ, ความทุบ, ความตี + | | | | | |
เณ ปัจจัย ในกัตตุวาจก ด้วยอำนาจ เณ | | | | | |
ปัจจัย พฤทธิ อุ ต้นธาตุ เป็น โอ | | | | | |
ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น อาโกเฏสิ | | | | | |
อาคจฺฉํ ก. มาอยู่, เมื่อมา อา + คม ธาตุ ในความไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า | | | | | |
มา + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อนฺต เป็น อาคจฺฉนฺต | | | | | |
อ การันต์ ในปุงลิงค์ ลง สิ ปฐมาวิภัตติ ฝ่าย | | | | | |
เอกวจนะ แปลง นฺต กับ สิ เป็น อํ สำเร็จรูปเป็น | | | | | |
อาคจฺฉํ, ปุคฺคโล อ. บุคคล อาคจฺฉํ เมื่อมา | | | | | |
แจกเหมือน ภวนฺต | | | | | |
อาคจฺฉติ ก. (เช่น ชรา อ. ชรา) ย่อมมา อา | | | | | |
บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า | | | | | |
แปลว่า มา + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานา | | | | | |
วิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ สำเร็จรูปเป็น | | | | | |
อาคจฺฉติ | | | | | |
อาคจฺฉตุ ก. (เช่น ภิกฺขุสงฺโฆ อ. หมู่แห่งภิกษุ) | | | | | |
จงมา, ขอจงมา อา บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า แปลว่า มา + อ ปัจจัย | | | | | |
ในกัตตุวาจก + ตุ ปัญจมีวิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ สำเร็จรูปเป็น อาคจฺฉตุ | | | | | |
อาคจฺฉถ ๑ ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) ย่อมมา อา | | | | | |
บทหน้า + คม | | | | | |
ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า | | | | | |
แปลว่า มา + อ | | | | | |
ปัจจัย ในกัตตุวาจก + ถ วัตตมานา- | | | | | |
วิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ สำเร็จรูปเป็น อาคจฺฉถ | | | | | |
อาคจฺฉถ ๒ ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) จงมา อา | | | | | |
บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า | | | | | |
แปลว่า มา + อ | | | | | |
ปัจจัย ในกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ | | | | | |
แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ สำเร็จรูปเป็น อาคจฺฉถ | | | | | |
อาคจฺฉนฺต ก. มาอยู่ อา บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า แปลว่า มา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก | | | | | |
+ อนฺต ปัจจัย แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ ได้รูปเป็น อาคจฺฉนฺต ดู อกฺกมนฺต | | | | | |
อาคจฺฉนฺติ ก. (เช่น ภิกฺขู อ. ภิกษุ ท.) ย่อมมา | | | | | |
อา บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า | | | | | |
แปลว่า มา + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อนฺติ | | | | | |
วัตตมานาวิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ | | | | | |
สำเร็จรูปเป็น อาคจฺฉนฺติ | | | | | |
อาคจฺฉนฺตุ ก. (เช่น ภิกฺขู อ. ภิกษุ ท.) จงมา อา บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า | | | | | |
แปลว่า มา + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อนฺตุ | | | | | |
ปัญจมีวิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ | | | | | |
สำเร็จรูปเป็น อาคจฺฉนฺตุ | | | | | |
อาคจฺฉมาน ก. มาอยู่, เมื่อมา อา บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า แปลว่า มา + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ ได้รูปเป็น อาคจฺฉมาน ดู อนิจฺฉมาน | | | | | |
อาคจฺฉสิ ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ย่อมมา อา บทหน้า + คม ธาตุ | | | | | |
ในความไป มี อา อยู่หน้า แปลว่า มา + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + สิ วัตตมานาวิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ สำเร็จรูปเป็น อาคจฺฉสิ | | | | | |
อาคจฺฉามิ ก. (อหํ อ. เรา) ย่อมมา อา บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า แปลว่า มา + | | | | | |
อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + มิ วัตตมานาวิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ มิ อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุดธาตุ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น อาคจฺฉามิ | | | | | |
อาคจฺฉิสฺสสิ ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จักมา อา บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า แปลว่า มา + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + สฺสสิ ภวิสสันติวิภัตติ แปลง คม | | | | | |
ธาตุ เป็น คจฺฉ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น อาคจฺฉิสฺสสิ | | | | | |
อาคจฺฉึสุ ก. (เช่น ภิกฺขู อ. ภิกษุ ท.) มาแล้ว อา | | | | | |
บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า | | | | | |
แปลว่า มา + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อุํ | | | | | |
อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ | | | | | |
แปลง อุํ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น อาคจฺฉึสุ | | | | | |
อาคจฺเฉยฺยํ ก. (อหํ อ. เรา) พึงมา อา บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า แปลว่า มา | | | | | |
+ อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + เอยฺยํ สัตตมีวิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ สำเร็จรูปเป็น อาคจฺเฉยฺยํ | | | | | |
อาคจฺเฉยฺยาถ ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) พึงมา อา บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า แปลว่า มา + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + เอยฺยาถ สัตตมีวิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ สำเร็จรูปเป็น อาคจฺเฉยฺยาถ | | | | | |
อาคจฺเฉยฺยาสิ ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) พึงมา อา | | | | | |
บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า | | | | | |
แปลว่า มา + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + เอยฺยาสิ | | | | | |
สัตตมีวิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ | | | | | |
สำเร็จรูปเป็น อาคจฺเฉยฺยาสิ | | | | | |
อาคญฺฉิ ก. (เถโร อ. พระเถระ) มาแล้ว อา บทหน้า | | | | | |
+ คม ธาตุ ในความไป มี อา อยู่หน้า แปลว่า | | | | | |
มา + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ | | | | | |
แปลง | | | | | |
คม ธาตุ เป็น คญฺฉ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น อาคญฺฉิ | | | | | |
อาคต ก. มาแล้ว อา บทหน้า + คม ธาตุ ในความไป | | | | | |
มี อา อยู่หน้า แปลว่า มา + ต ปัจจัย ลบ ม | | | | | |
ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น อาคต ดู อคต | | | | | |
อาคตการณ น.,นปุ. เหตุแห่ง…มาแล้ว แจก | | | | | |
เหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. อาคตการณํ ซึ่งเหตุ | | | | | |
แห่ง…มาแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า | | | | | |
อาคตสฺส การณํ = อาคตการณํ | | | | | |
อาคตกาล น.,ปุ. กาลแห่ง…มาแล้ว แจกเหมือน | | | | | |
ปุริส เช่น ส.เอก. อาคตกาเล ในกาลแห่ง…มาแล้ว | | | | | |
เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น อาคตกาลโต บ้าง เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า | | | | | |
อาคตสฺส กาโล = อาคตกาโล | | | | | |
อาคตเจติยฏฺาน น.,นปุ. ที่แห่งเจดีย์อันมาแล้ว แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. อาคตเจติยฏฺานํ อ. ที่แห่งเจดีย์อันมาแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน | | | | | |
มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. อาคตํ | | | | | |
เจติยํ = อาคตเจติยํ ฉ.ตัป.วิ. อาคตเจติยสฺส | | | | | |
านํ = อาคตเจติยฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ] | | | | | |
อาคตตฺต น.,นปุ. ความที่แห่ง…เป็นผู้มาแล้ว | | | | | |
ลง ตฺต ปัจจัยในภาวตัทธิต วิ.ว่า อาคตสฺส ภาโว | | | | | |
= อาคตตฺตํ แจกเหมือน กุล เฉพาะฝ่ายเอกวจนะ | | | | | |
อาคตทิวส น.,ปุ.,นปุ. วันแห่ง…มาแล้ว ปุ. | | | | | |
แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อาคตทิวโส | | | | | |
อ. วันแห่ง…มาแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า | | | | | |
อาคตสฺส ทิวโส = อาคตทิวโส เฉพาะปัญจมี- | | | | | |
วิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น | | | | | |
อาคตทิวสโต บ้าง | | | | | |
อาคตทุกฺขวเสน น.,ปุ. เพราะอำนาจแห่งทุกข์อันมาแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสน- | | | | | |
บุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. อาคตํ ทุกฺขํ = อาคตทุกฺขํ ฉ.ตัป.วิ. อาคตทุกฺขสฺส วโส = อาคตทุกฺขวโส แจกเหมือน ปุริส | | | | | |
อาคตนย น.,ปุ. นัยอันมาแล้ว แจกเหมือน ปุริส | | | | | |
เช่น ต.เอก. อาคตนเยน ตามนัยอันมาแล้ว เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า อาคโต | | | | | |
นโย = อาคตนโย | | | | | |
อาคตภาว น.,ปุ. ความที่แห่ง…เป็นผู้มาแล้ว ปุ. | | | | | |
แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. อาคตภาวํ | | | | | |
ซึ่งความที่แห่ง…เป็นผู้มาแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริส | | | | | |
สมาส วิ.ว่า อาคตสฺส ภาโว = อาคตภาโว | | | | | |
อาคตมคฺค น.,ปุ. หนทางแห่ง…มาแล้ว แจกเหมือน | | | | | |
ปุริส เช่น ทุ.เอก. อาคตมคฺคํ ซึ่งหนทางแห่ง…มาแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า อาคตสฺส มคฺโค = อาคตมคฺโค | | | | | |
อาคตมตฺต ว. ผู้สักว่ามาแล้ว เป็นสัมภาวน- | | | | | |
บุพพบท กัมมธารยสมาส ปุ. แจกเหมือน ปุริส | | | | | |
เช่น ส.เอก. อาคตมตฺเต (สตฺถริ) ครั้นเมื่อ | | | | | |
พระศาสดา สักว่าเสด็จมาแล้ว วิ.ว่า อาคโต อิติ | | | | | |
มตฺโต = อาคตมตฺโต (สตฺถา) อ. พระศาสดา | | | | | |
สักว่า เสด็จมาแล้ว ชื่อว่า อาคตมตฺโตๆ สักว่า | | | | | |
เสด็จมาแล้ว | | | | | |
อาคตมนุสฺส น.,ปุ. มนุษย์ผู้มาแล้ว แจกเหมือน | | | | | |
ปุริส เช่น ป.พหุ. อาคตมนุสฺสา อ. มนุษย์ | | | | | |
ผู้มาแล้ว ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า อาคตา มนุสฺสา = อาคตมนุสฺสา | | | | | |
อาคตเวลา น.,อิต. เวลาแห่ง…มาแล้ว แจกเหมือน | | | | | |
กญฺา เช่น ส.เอก. อาคตเวลายํ ในเวลาแห่ง…มาแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า อาคตสฺส เวลา = อาคตเวลา | | | | | |